“วงจรชีวิตกับการเงิน”
สิ่งนี้เป็นจุดเริ่มต้นและเหตุผลที่ทุกๆคนควร “วางแผนการเงิน”
คุณ Sanjay Tolini ที่ปรึกษาการเงินชื่อดัง เขาอธิบายเรื่องวงจรชีวิตของคนได้อย่างเรียบง่ายและน่าสนใจ
ถ้าดูจากในภาพจะเห็นว่า “วงจรชีวิตกับการเงิน” แบ่งเป็น 4 ช่วง คือ
ช่างที่ 1 : อายุ 0 – 20 ปี ช่วงเวลาของการเรียนรู้และเล่นในวัยเด็ก
ค่าใช้จ่ายทุกอย่างพ่อแม่เป็นคนดูแล
ช่วงที่ 2 : อายุ 20 – 40 ปี ช่วงเวลาเริ่มต้นการทำงานครั้งแรก
ซื้อรถคันแรก บ้านหลังแรก แต่งงาน มีลูก
ช่วงที่ 3 : อายุ 40 – 60 ปี มีการเติบโตในหน้าที่การงาน ย้ายงาน
ซื้อรถคันใหม่ บ้านหลังใหม่ ส่งลูกเรียน ดูแลครอบครัว
ช่วงที่ 4 : อายุ 60 – 80 ปี ช่วงเกษียณจากการทำงาน
ถึงเวลาของการพักผ่อนในบั้นปลายชีวิต
ถ้าดูให้ดีจะเห็นว่าครึ่งวงกลมด้านบนวัยเด็กและวัยเกษียณเป็นช่วงที่เรา “ไม่มีรายได้” แต่มี “ค่าใช้จ่าย”
ตอนเด็กยังมีพ่อแม่คอยดูแลค่าใช้จ่ายให้ แต่ตอนเกษียณใครจะมาดูแล ถ้าไม่เตรียมตัวให้ดี
ค่าใช้จ่ายทุกอย่างพ่อแม่เป็นคนดูแล
ช่วงที่ 2 : อายุ 20 – 40 ปี ช่วงเวลาเริ่มต้นการทำงานครั้งแรก
ซื้อรถคันแรก บ้านหลังแรก แต่งงาน มีลูก
ช่วงที่ 3 : อายุ 40 – 60 ปี มีการเติบโตในหน้าที่การงาน ย้ายงาน
ซื้อรถคันใหม่ บ้านหลังใหม่ ส่งลูกเรียน ดูแลครอบครัว
ช่วงที่ 4 : อายุ 60 – 80 ปี ช่วงเกษียณจากการทำงาน
ถึงเวลาของการพักผ่อนในบั้นปลายชีวิต
ถ้าดูให้ดีจะเห็นว่าครึ่งวงกลมด้านบนวัยเด็กและวัยเกษียณเป็นช่วงที่เรา “ไม่มีรายได้” แต่มี “ค่าใช้จ่าย”
ตอนเด็กยังมีพ่อแม่คอยดูแลค่าใช้จ่ายให้ แต่ตอนเกษียณใครจะมาดูแล ถ้าไม่เตรียมตัวให้ดี
สมมติตอนนี้อายุ 25 คิดว่าจะทำงานถึงอายุ 60 เราจะมีระยะเวลาทำงานหารายได้ 60 – 25 = 35 ปี
ใน 35 ปีนี้เป็นช่วงที่ท้าทายมากๆ เพราะ เป็นช่วงที่มีค่าใช้จ่ายต่างๆเข้ามาทั้งค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่น รถ บ้าน แต่งงาน มีลูก และค่าใช่จ่ายที่ไม่จำเป็นอีกมากมาย
ใน 35 ปีนี้เป็นช่วงที่ท้าทายมากๆ เพราะ เป็นช่วงที่มีค่าใช้จ่ายต่างๆเข้ามาทั้งค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่น รถ บ้าน แต่งงาน มีลูก และค่าใช่จ่ายที่ไม่จำเป็นอีกมากมาย
แต่มีกฎธรรมชาติ 4 อย่างที่ทุกคนต้องเจอ คือ
โรคภัย
อุบัติภัย
จากไป
อยู่นานเกินไป
ทั้ง 4 อย่างนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีค่าใช้จ่ายตามมา
สิ่งสำคัญคือเมื่อเรารู้แล้วจะวางแผนรับมือกับมันอย่างไร?
อุบัติภัย
จากไป
อยู่นานเกินไป
ทั้ง 4 อย่างนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีค่าใช้จ่ายตามมา
สิ่งสำคัญคือเมื่อเรารู้แล้วจะวางแผนรับมือกับมันอย่างไร?
เราคงไม่สามารถย้อนเวลากลับไปวางแผนตั้งแต่เกิดได้แต่เราเริ่มต้นวันนี้ได้
ใช้เวลา 35 ปีที่เหลือวางแผนให้ดี เริ่มต้นได้แล้ว เพราะมันเป็นช่วงเวลาเดียวที่เหลืออยู่
ใครมีเวลาต้องเริ่มศึกษาและลงมือทำ
ใครไม่มีเวลายิ่งต้องแบ่งเวลามาศึกษาและลงมือทำ
เมื่อเวลาผ่านไปจะได้ไม่ต้องมาบอกกับตัวเองว่า
ใช้เวลา 35 ปีที่เหลือวางแผนให้ดี เริ่มต้นได้แล้ว เพราะมันเป็นช่วงเวลาเดียวที่เหลืออยู่
ใครมีเวลาต้องเริ่มศึกษาและลงมือทำ
ใครไม่มีเวลายิ่งต้องแบ่งเวลามาศึกษาและลงมือทำ
เมื่อเวลาผ่านไปจะได้ไม่ต้องมาบอกกับตัวเองว่า
“รู้งี้….”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น